มะเร็งในเด็ก

บทบาทรังสีโปรตอนในผู้ป่วยเด็ก

  • การฉายรังสีเฉพาะตำแหน่ง บริเวณก้อนในสมอง
    • จำนวน 25-33 ครั้ง ฉายวันละ 1 ครั้ง
    • ประโยชน์ที่อาจได้รับจากการฉายรังสีโปรตอน
      • ลดปริมาณรังสีที่โดยเนื้อสมองปกติ
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ผลข้างเคียงเกี่ยวกับการประมวลผลของสมอง, ระดับสติปัญญา
      • ลดโอกาสเกิดเนื้องอกสมองชนิดที่ 2
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนอวัยวะเกี่ยวกับการได้ยิน
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง การได้ยินผิดปกติ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนต่อมใต้สมอง, ต่อม hypothalamus
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ฮอร์โมนบกพร่อง
  •  การฉายรังสีทั้งสมองและไขสันหลัง (และตามด้วยการฉายรังสีบริเวณก้อนในสมอง)
      •  จำนวน 25-33 ครั้ง ฉายวันละ 1 ครั้ง
      • ประโยชน์ที่อาจได้รับจากการฉายรังสีโปรตอน
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนช่องปาก คอหอย
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง เยื่อบุช่องปาก/คอหอย อักเสบ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนต่อมไทรอยด์
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ของต่อมไทรอยด์ผิดปกติ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนหัวใจ
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง โรคหัวใจ, เยื่อบุหัวใจอักเสบ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนปอด
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง พังผืดในปอด, ปอดอักเสบ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนหลอดอาหาร
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง หลอดอาหารอักเสบ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนกระเพาะอาหาร
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง คลื่นไส้อาเจียน
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนไต
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง โรคไต
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนตับ
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง โรคตับ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนลำไส้
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ท้องอืด แน่นท้อง พังผืดในช่องท้อง
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนไขกระดูก
        • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ภาวะโลหิตจาง ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
        • ลดปริมาณรังสีที่โดนอวัยวะทั่วๆ
        • ลดโอกาสเกิดมะเร็งชนิดที่สอง
  • จำนวน 20-31 ครั้ง ฉายวันละ 1 ครั้ง
  • ประโยชน์ที่อาจได้รับจากการฉายรังสีโปรตอน
      • ขึ้นกับตำแหน่งก้อนมะเร็งและตำแหน่งที่ฉาย
      • โดยทั่วไป การฉายรังสีโปรตอน จะมีปริมาณรังสีที่กระทบอวัยวะใกล้เคียงน้อยกว่าการฉายรังสีโฟตอน (x-ray)
      •  ลดปริมาณรังสีที่โดนต่อมน้ำลาย
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง น้ำลายแห้ง
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนช่องปาก คอหอย
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง เยื่อบุช่องปาก/คอหอย อักเสบ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนต่อมไทรอยด์
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ของต่อมไทรอยด์ผิดปกติ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนหัวใจ
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง โรคหัวใจ, เยื่อบุหัวใจอักเสบ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนปอด
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง พังผืดในปอด, ปอดอักเสบ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนหลอดอาหาร
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง หลอดอาหารอักเสบ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนกระเพาะอาหาร
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง คลื่นไส้อาเจียน
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนไต
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง โรคไต
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนตับ
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง โรคตับ
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนลำไส้
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ท้องอืด แน่นท้อง พังผืดในช่องท้อง
      • ลดปริมาณรังสีที่โดนไขกระดูก
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ภาวะโลหิตจาง ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
      • ลดปริมาณรังสีโดนกระดูก
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง ภาวะตัวเตี้ย กระดูกสั้น
      • ลดโอกาสเกิด/ความรุนแรง กระดูกหัก
      • ชลดปริมาณรังสีที่โดนอวัยวะทั่วๆ
      • ลดโอกาสเกิดมะเร็งชนิดที่สอง

**หมายเหตุ ควรปรึกษาแพทย์เจ้าของไข้เกี่ยวกับความเหมาะสมของการฉายรังสีทั้งชนิดโปรตอนและโฟตอนเป็นกรณีๆไป รายละเอียดการรักษาอาจมีความแตกต่างในผู้ป่วยแต่ละราย